Get Adobe Flash player

งานประกันคุณภาพ


ลิงค์ภายนอก




มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก 

พ.ศ. ๒๕๕๕

จำนวน  ๗  มาตรฐาน  ๔๐ ตัวบ่งชี้

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

มาตรฐานที่  ๑ 

ด้านผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา   

 

๑.๑

ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ขึ้นไป

 

๑.๒

ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพของผู้เรียน

 

๑.๓

ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

๑.๔

ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป

 

๑.๕

ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ

 

๑.๖

ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานอาชีพของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ หรือหน่วยงาน

ที่คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษารับรอง

 

๑.๗

ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า

 

๑.๘

ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อภายใน ๑ ปี

 

๑.๙

ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือผู้รับบริการที่มีต่อคุณภาพ

ของผู้สำเร็จการศึกษา

 

มาตรฐานที่  ๒ 

ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา   

 

๒.๑

ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการ

ของสถานประกอบการหรือประชาคมอาเซียน

 

๒.๒

ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา

 

๒.๓

ระดับคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา

 

๒.๔

ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา

 

๒.๕

ระดับคุณภาพในการฝึกงาน

 

๒.๖

ระดับคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนด้านภาษาอังกฤษ

 

มาตรฐานที่  ๓ 

ด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา

 

๓.๑

ระดับคุณภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย

 

๓.๒

ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการบริหารจัดการสถานศึกษา

 

๓.๓

ระดับคุณภาพในการพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์

 

๓.๔

ระดับคุณภาพในการบริหารงานและภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา

 


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

๓.๕

ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา

 

๓.๖

ระดับคุณภาพในการบริหารความเสี่ยง

 

๓.๗

ระดับคุณภาพในการจัดระบบดูแลผู้เรียน

 

๓.๘

ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและ

การใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ

 

๓.๙

ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์

 

๓.๑๐

ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

 

๓.๑๑

ระดับคุณภาพในการบริหารการเงินและงบประมาณ

 

๓.๑๒

ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่ายทั้งในประเทศและหรือต่างประเทศ

 

๓.๑๓

ระดับคุณภาพในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาคารสถานที่ ห้องปฏิบัติการ และการจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์การศึกษา รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้

 

๓.๑๔

ระดับคุณภาพในการพัฒนาระบบการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสได้รับการศึกษา

จากสถานศึกษา

 

มาตรฐานที่  ๔ 

ด้านการบริการวิชาการและวิชาชีพ 

 

๔.๑

ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการการบริการวิชาการและวิชาชีพ

 

มาตรฐานที่  ๕ 

ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย 

 

๕.๑

ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของผู้เรียน

 

๕.๒

ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครู

 

มาตรฐานที่  ๖ 

ด้านการปลูกฝังจิตสำนึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 

 

๖.๑

ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสำนึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริม การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และทะนุบำรุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม

 

๖.๒

ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

๖.๓

ระดับคุณภาพในการส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการ

 

๖.๔

ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสำนึกด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

 

๖.๕

ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสำนึกด้านจิตบริการ

 

มาตรฐานที่  ๗ 

ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 

 

๗.๑

ระดับคุณภาพในระบบการประกันคุณภาพภายใน

 

๗.๒

ระดับคุณภาพในการดำเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕

 

๗.๓

ระดับคุณภาพในการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลกพ.ศ. ๒๕๕๕